Create project in Netbeans
ก่อนจะข้ามไปถึงเรื่องของการ Debuging ผมขอแทรกด้วยการสร้างโปรเจคก่อนนะครับ
เพื่อที่เราจะได้เข้าใจไปในทางเดียวกันได้
การสร้างโปรเจคใน Netbeans โดยส่วนมากเรามักใช้งานส่วนดังต่อไปนี้ครับ
โดยส่วนมากการสร้างโปรเจคแบบนี้มันสร้างเพื่อใช้ในเครื่องของเราเองครับ
เริ่มจากการ New Project โดย Ctrl+Shift+N หรือ File > New project แล้วเลือก PHP APPlication แล้วก็ Next ครับ
คำอธิบายรายการ
Project Name: ชื่อโปรเจค
Sources Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ Source code
Metadata Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ รายละเอียดของโปรเจค
ในตัวอย่างนี้เราจะตั้งค่าตามนี้นะครับ
Project Name: hellophp
Sources Folder: C:\xampp\htdocs\hellophp
Metadata Folder: C:\xampp\htdocs\hellophp
จากนั้นก็ Next เพื่อไปขั้นตอนต่อไปครับ
คำอธิบายรายการ
Run As: วิธีการรันโปรเจค
Project URL: ตำแหน่งที่จะรันโปรเจค
Copy to Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ Source code อีกแห่ง
สำหรับ Copy to folder นั้นถ้า Source code หลักถูกแก้ code ใน path ที่เราตั้งไว้นี้ก็จะโดนแก้ไปด้วย
ในตอนนี้ให้ตั้งค่าตามนี้ครับ
Run As: Local Web Site
Project URL: http://localhost/hellophp/
Copy to Folder: ยังไม่ใช้งานตัวนี้ครับ
แล้วคลิกที่ Finish ได้เลยครับเราก็จะได้โปรเจคออกมาตามนี้
การสร้างโปรเจคแบบ PHP Application with existing sources
ส่วนวิธีการสร้างแบบนี้มักจะใช้งานกับเครื่องที่อยู่ในระบบ Intranet คือมีเครื่อง Server ที่ใช้งานกันเฉพาะภายในบริษัทหรือองค์กรนั้นๆโดยที่ตัวโค้ดจะไม่ได้อยู่ในเครื่องของเราแต่จะเข้าไปใช้งานในเครื่องของตัว Intranet Server นั้นๆแทนครับ
เริ่มจาก New Project แล้วเลือก PHP Application with existing sources ครับ
เราจะเจอหน้าตาคล้ายๆกับแบบแรกครับแค่สลับตำแหน่งของ Sources Folder กับ Project Name เท่านั้นเองสำหรับตัวอย่างครั้งนี้ผมจะลองใช้กับเครื่องแถวๆนี้หละครับ ^^
Sources Folder: \\SERVER2008\kritsa\test
Project Name: intrane
Metadata Folder: C:\xampp\htdocs\intranet
ตัว Srouces folder นั้นก็ปรับตาม intranet server ของแต่ละคนได้เลยครับ แล้วก็ Next
Run As: Local Web Site
Project URL: http://server2008/kritsa/test/
Copy to Folder: ยังไม่ใช้งานตัวนี้ครับแต่ถ้าใครจะเอาไฟล์จาก intranet server มาใช้ก็ติ๊กใช้งานได้ครับ แล้วก็อย่าลืมตั้งพาธให้ถูกด้วยล่ะเออ
ในขั้นตอนนี้ผมก็ Finish ละกันครับ
รอสักแป๊บตัว Netbeans ก็จะลิสรายการของ Sources code แสดงมาให้
จบการนำเสนอครับหวังว่าคงไม่ยากเกินไปนะครับ ^^
บทความที่เกี่ยวข้อง
เพื่อที่เราจะได้เข้าใจไปในทางเดียวกันได้
การสร้างโปรเจคใน Netbeans โดยส่วนมากเรามักใช้งานส่วนดังต่อไปนี้ครับ
- สร้างโปรเจคแบบ PHP Application
- สร้างโปรเจคแบบ PHP Application with existing sources
โดยส่วนมากการสร้างโปรเจคแบบนี้มันสร้างเพื่อใช้ในเครื่องของเราเองครับ
เริ่มจากการ New Project โดย Ctrl+Shift+N หรือ File > New project แล้วเลือก PHP APPlication แล้วก็ Next ครับ
คำอธิบายรายการ
Project Name: ชื่อโปรเจค
Sources Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ Source code
Metadata Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ รายละเอียดของโปรเจค
ในตัวอย่างนี้เราจะตั้งค่าตามนี้นะครับ
Project Name: hellophp
Sources Folder: C:\xampp\htdocs\hellophp
Metadata Folder: C:\xampp\htdocs\hellophp
จากนั้นก็ Next เพื่อไปขั้นตอนต่อไปครับ
คำอธิบายรายการ
Run As: วิธีการรันโปรเจค
Project URL: ตำแหน่งที่จะรันโปรเจค
Copy to Folder: ตำแหน่งที่ใช้เก็บ Source code อีกแห่ง
สำหรับ Copy to folder นั้นถ้า Source code หลักถูกแก้ code ใน path ที่เราตั้งไว้นี้ก็จะโดนแก้ไปด้วย
ในตอนนี้ให้ตั้งค่าตามนี้ครับ
Run As: Local Web Site
Project URL: http://localhost/hellophp/
Copy to Folder: ยังไม่ใช้งานตัวนี้ครับ
แล้วคลิกที่ Finish ได้เลยครับเราก็จะได้โปรเจคออกมาตามนี้
การสร้างโปรเจคแบบ PHP Application with existing sources
ส่วนวิธีการสร้างแบบนี้มักจะใช้งานกับเครื่องที่อยู่ในระบบ Intranet คือมีเครื่อง Server ที่ใช้งานกันเฉพาะภายในบริษัทหรือองค์กรนั้นๆโดยที่ตัวโค้ดจะไม่ได้อยู่ในเครื่องของเราแต่จะเข้าไปใช้งานในเครื่องของตัว Intranet Server นั้นๆแทนครับ
เริ่มจาก New Project แล้วเลือก PHP Application with existing sources ครับ
เราจะเจอหน้าตาคล้ายๆกับแบบแรกครับแค่สลับตำแหน่งของ Sources Folder กับ Project Name เท่านั้นเองสำหรับตัวอย่างครั้งนี้ผมจะลองใช้กับเครื่องแถวๆนี้หละครับ ^^
Sources Folder: \\SERVER2008\kritsa\test
Project Name: intrane
Metadata Folder: C:\xampp\htdocs\intranet
ตัว Srouces folder นั้นก็ปรับตาม intranet server ของแต่ละคนได้เลยครับ แล้วก็ Next
Run As: Local Web Site
Project URL: http://server2008/kritsa/test/
Copy to Folder: ยังไม่ใช้งานตัวนี้ครับแต่ถ้าใครจะเอาไฟล์จาก intranet server มาใช้ก็ติ๊กใช้งานได้ครับ แล้วก็อย่าลืมตั้งพาธให้ถูกด้วยล่ะเออ
ในขั้นตอนนี้ผมก็ Finish ละกันครับ
รอสักแป๊บตัว Netbeans ก็จะลิสรายการของ Sources code แสดงมาให้
จบการนำเสนอครับหวังว่าคงไม่ยากเกินไปนะครับ ^^
บทความที่เกี่ยวข้อง
- Install Xampp
- Install Java SE and Netbeans
- Create project in Netbeans
- PHP Debug with Netbeans
- Subversion with Netbeans
Comments
Post a Comment